หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานาฏศิลป์ศึกษา
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
- ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ศศ.ด.) สาขานาฏยศิลป์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2547)
- Cert.Advanced - Level Training Course Technique of Labanotation, Dance Notation: Labanotation,SPAFA SEAMEO: Regional Centre for Archaeology and Fine Arts, THAILAND. (2536)
- Cert.TheTraining Course in the Intermediate-Level, Technique of Labanotation, Dance Notation: Labanotation SPAFA SEAMEO & The Nanyang Academy of the Fine Arts of Singapore. SINGAPORE. (2534)
- ครุศาสตรมหาบัณฑิต (ค.ม.) สาขาวิชาการอุดมศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2532)
- The Training Course on the Technique of Labanotation and Its Implementation for Teachers of the Performing Arts, Dance Notation: Labanotation, SPAFA SEAMEO & Directorate General of Culture Indonesia, INDONESIA.
- การศึกษาบัณฑิตบัณฑิต (กศ.บ.) สาขาการสอนภาษาไทย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (2521)
- ประกาศนียบัตรประโยคครูมัธยมการช่าง (ป.ม.ช.) วิชาเอกนาฏศิลป์ วิชาโทดุริยางค์ไทย จากวิทยาลัยนาฏศิลป กรมศิลปากร (2518)
-
ชมนาด กิจขันธ์, ธรรมรัตน์ โถวสกุล, ขรรค์ชัย หอมจันทร์, กุลนาถ พุ่มอำภา. (2564). นาฏศิลป์สร้างสรรค์กับการพัฒนาวิทยฐานะของครู (ตอนที่ 1). วารสารศิลปะและสถาปัตยกรรม, 5(1), 1-14. สืบค้นจาก https://so05.tci-thaijo.org/index.php/Patanasilpa/article/view/256795.
-
ขนิษฐา บุตรไชย, ชมนาด กิจขันธ์. (2564). คำสารภาพ: การออกแบบและสร้างสรรค์ศิลปะการแสดงจากคำให้การของตัวละคร. ใน การประชุมวิชาการงานสร้างสรรค์ด้านศิลปกรรมระดับชาติ ครั้งที่ 2 (น. 426-445). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 19-20 สิงหาคม 2564. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
-
วิทวัส กรมณีโรจน์, ชมนาด กิจขันธ์. (2564). อธรรนารีศวร: การสร้างสรรค์นาฏศิลป์จากความสมบูรณ์ของมนุษย์ในเทพเจ้าฮินดู. ใน การประชุมวิชาการงานสร้างสรรค์ด้านศิลปกรรมระดับชาติ ครั้งที่ 2 (น. 410-425). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 19-20 สิงหาคม 2564. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
-
กุลนาถ พุ่มอำภา, ชมนาด กิจขันธ์. (2564). การสร้างสรรค์นาฏยศิลป์ชุดระบำนางสะนางเชิญแต่งตัว. ใน การประชุมวิชาการงานสร้างสรรค์ศิลปกรรมระดับชาติ ครั้งที่ 2. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 19-20 สิงหาคม 2564. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
-
ธนดล นิสัยมั่น, & ชมนาด กิจขันธ์. (2567). การประยุกต์เทคโนโลยี Spatial Metaverse ในรายวิชานาฏศิลป์ เรื่อง วิวัฒนาการละครไทย สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนกวงฮั้ว จังหวัดระยอง ปีการศึกษา 2566. วารสารบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม, 19(2), 55-69. สืบค้นจาก https://so01.tci-thaijo.org/index.php/journalgrdcru/article/view/273842
หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
- ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ (2558)
- ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม.) สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยรามคำแหง (2543)
- ศึกษาศาสตรบัณฑิต (ศษ.บ.) สาขาวิชาโสตทัศนศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง (2534)
- พรรณรายณ์ ทรัพย์แสนดี. (2565). การพัฒนาหลักสูตร. กรุงเทพฯ: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ จันทรเกษม.
- พรรณรายณ์ ทรัพย์แสนดี. (2566). วิทยาการจัดการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม.
- พรรณรายณ์ ทรัพย์แสนดี, ปิยภรณ์ เตชะเรืองรอง. (2564). การพัฒนาชุดกิจกรรมเสริมสร้างทักษะการพึ่งพาตนเองของนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้. วารสารวิชาการหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 13(37), 113-118. สืบค้นจาก https://jci.snru.ac.th/ArticleView?ArticleID=912.
- วิภาภรณ์ บุญยงค์, ทัศนีย์ รอดมั่นคง, สุวัชราพร สวยอารมณ์ และพรรณรายณ์ ทรัพย์แสนดี. (2564). ผลการใช้กิจกรรมกลุ่มที่มีต่อการพัฒนาทักษะชีวิตของนักศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์. วารสารวิชาการหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 13(37), 231-239. สืบค้นจาก https://jci.snru.ac.th/ArticleView?ArticleID=924.
- จิราภรณ์ พจนาอารียวงค์, เยาวนุช ทานาม, สรรเสริญ หุ่นแสน และพรรณรายณ์ ทรัพย์แสนดี. (2565). การพัฒนาแบบวัดคุณลักษณะมนุษยสัมพันธ์ของนักศึกษาวิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์. วารสารนิสิตวัง, 24(2), 10-18. สืบค้นจาก https://so06.tci-thaijo.org/index.php/jonw/article/download/258270/175343/987380.
- พิบูลย์ ตัญญบุตร, พรรณรายณ์ ทรัพย์แสนดี และเอกลักษณ์ เทพวิจิตร. (2565). การศึกษาความต้องการจำเป็นในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ รายวิชาปรัชญาการศึกษาและเศรษฐกิจพอเพียง ของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม. วารสารมหาจุฬาวิชาการ, 9(3), 335-345. สืบค้นจาก https://so04.tci-thaijo.org/index.php/JMA/article/download/261696/177283.
- พรรณรายณ์ ทรัพย์แสนดี. (2566). การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมครูในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นความแตกต่างระหว่างบุคคลในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร. วารสารราชนครินทร์, 20(1), 20-30. สืบค้นจาก https://so05.tci-thaijo.org/index.php/Jrru/article/view/263549/179021.
- จุฑารัตน์ นกแก้ว, พรรณรายณ์ ทรัพย์แสนดี และปริญญ์ ขวัญเรียง. (2566). การพัฒนาหลักสูตรชุมชน ภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด ชุมชนตำบลห้วยกรด อำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท. วารสารวิจัย สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย, 16(2), 14-27. สืบค้นจาก https://so05.tci-thaijo.org/index.php/sujthai/article/view/255173.
- ณิชาภา ธพิพัฒน์, พรรณรายณ ทรัพย์แสนดี, สุรางค์ ธรรมโวหาร, ชวนิดา สุวานิช. (2567). ภาวะผู้นำของผู้นำสถานศึกษากับการพัฒนาหลักสูตรและการสอน. วารสาร มจร พุทธโสธรปริทรรศน์, 4(1), 48-62. สืบค้นจาก https://so02.tci-thaijo.org/index.php/JMBR_sothorn/article/view/271171/180924
- พิบูลย์ ตัญญบุตร, พรรณรายณ์ ทรัพย์แสนดี และจิราภรณ์ พจนาอารีย์วงศ์. (2566). ความต้องการจำเป็นในการพัฒนาทักษะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารของครูที่ยังไม่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ. วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์, 13(1), 1-17. สืบค้นจาก https://so06.tci-thaijo.org/index.php/var/article/view/260070.
- จิราภรณ์ พจนาอารียวงค์, เยาวนุช ทานาม, พิบูลย์ ตัญญบุตร, วรีนันท์ สิริกรกาญน์ และพรรณรายณ์ ทรัพย์แสนดี. (2566). การศึกษาคุณลักษณะมนุษยสัมพันธ์ของนักศึกษาวิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์. วารสารนิสิตวัง, 25(2), 35-42. สืบค้นจาก https://so06.tci-thaijo.org/index.php/jonw/article/view/265609.
- ประกอบกูล นาคพิทักษ์, พรรณรายณ์ ทรัพย์แสนดี, พิบูลย์ ตัญญบุตร. (2567). การพัฒนาทักษะการนำ ความรู้ไปใช้ของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาคณิตศาสตร์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ โดยใช้หลักสูตรฝึกอบรมเสริมทักษะการนำความรู้ไปใช้. วารสาร Journal of Roi Kaensarn Academi, 9(10),1-16. สืบค้นจาก https://so02.tci-thaijo.org/index.php/JRKSA/article/view/270117.
- Narkpitak, P., Tanyabut, P., & Subseandee, P. (2024). Developing using knowledge skills of the first-year students’ early childhood education of Faculty of Education Rajabhat Rajanagarindra University by a training curriculum for promoting using knowledge skills. Journal of Teacher Education, 5(1), 1-15. Retrieved from https://so10.tci-thaijo.org/index.php/jote/article/view/1270.
- Nokkaew, U., Subsandee, P., & Khwanriang, P. (2024). Shaping community-based curriculum of local wisdom on palmyra palm at Huai Krot community in Chai Nat province of Thailand: Initial design processes. Humanities, Arts and Social Sciences Studies (HASSS), 24(3), 581-595. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/hasss/article/view/265118
หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
- ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ศษ.ด.) สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (2557)
- ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม.) สาขาวิชาบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี (2559)
- ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม.) สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น (2545)
- ศึกษาศาสตรบัณฑิต (ศษ.บ.) สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (2562)
- รัฐศาสตรบัณฑิต (รบ.) สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง (2558)
- หลักสูตรประกาศนียบัตรครูเทคนิคชั้นสูง (ปทส.) สาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน (2542)
- เกษมศรี อัศวศรีพงศ์ธร, เทวิกา ประดิษฐบาทุกา, ปิยาภรณ์ เตชะเรืองรอง, ณัฏฐกรณ์ ปะพาน, ฐิติวัสส์ สุขป้อม, ตฤณ แจ่มถิน. (2565). การพัฒนาระบบบริหารจัดการงานวิจัยและพันธกิจสัมพันธ์เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นของคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมกับภาคีเครือข่าย. วารสารจันทรเกษมสาร, 28(2), 205-220. สืบค้นจาก https://li01.tci-thaijo.org/index.php/crujournal/article/view/250910.
- ฐิติวัสส์ สุขป้อม, ณัฏฐกรณ์ ปะพาน, ณัฐพัชร สายเสนา, อภิชาติ หาจัตุรัส, สิรินพร หาจัตุรัส, เอนก เทียนบูชา, เริงวิชญ์ นิลโคตร. (2566). หลักพุทธธรรมกับการเสริมสร้างการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้: มิติการสร้างการเรียนรู้และการพัฒนาทีมสำหรับผู้บริหาร. วารสารบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม, 18(2), 21-32. สืบค้นจาก https://so01.tci-thaijo.org/index.php/journalgrdcru/article/view/267557.
- ณฏฐพร สิงห์สร, ฐิติวัสส์ สุขป้อม, เริงวิชญ์ นิลโคตร, วงษ์สิริ เรืองศร, ณัฏฐกรณ์ ปะพาน. (2566). การเรียนรู้ตลอดชีวิตโดยใช้ชุมชนเป็นฐานตามวิถีพุทธธรรม: กรณีศึกษาวัดป่าเลไลยก์วรวิหาร อำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 8(4), 315-325. สืบค้นจาก https://so04.tci-thaijo.org/index.php/JSBA/article/view/268456.